= = ตำหนิอย่างไรไม่ให้ลูกไม่เสียเ
การดุและตำหนิ มีเป้าหมายเพื่อให้ลูกตระหน
เกิดการเรียนรู้และแก้ไขเพื
แต่การตำหนิลูกไม่ถูกวิธี อาจทำให้ลูกสูญเสียความเชื่
เป็นปมขัดแย้งในใจ เกิดพฤติกรรมต่อต้าน สัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่-ลู
ลองดูวิธีดุลูกอย่างเหมาะสม
1. พ่อแม่ต้องปรับใจเป็นกลาง ว่าเด็กทุกคน มีโอกาสทำผิดกันได้ทั้งนั้น
ประสบการณ์การเรียนรู้ของเด
ตอนเราเป็นเด็กก็ยังเคยทำผิ
อย่าเพิ่งอคติตั้งแง่กับลูก
2. รับฟังเหตุผลในมุมมองของเขา
อย่าเพิ่งไปมองว่าลูกโกหก หรือแก้ตัวน้ำขุ่นๆ ดูไม่เข้าท่าในสายตาเรา
การที่เราสอดแทรก เปิดฉากดุว่าทันที และไม่เปิดใจรับฟัง
ลูกจะคิดว่าเราไม่มีเหตุผล และจะไม่อยากอธิบายหรือเล่า
ยิ่งทำให้ลูกดื้อเงียบ หรือต่อต้านหนักกว่าเดิมได้
3. ตำหนิที่ “พฤติกรรม” ไม่ใช่ที่ “ตัวตน”
เช่น ลูกพูดคำหยาบในบ้าน ควรตำหนิว่า
“แม่ไม่ชอบที่ลูกพูดคำหยาบแ
ไม่ควรตำหนิว่า ลูกแย่มากที่พูดแบบนั้น
พฤติกรรมเป็นสิ่งที่แสดงออก
เมื่อเราตำหนิที่พฤติกรรม หมายความว่า สิ่งที่เราไม่ชอบ ไม่ยอมรับคือ พฤติกรรมของเขา
ไม่ได้แปลว่าเราไม่ยอมรับใน
การตำหนิที่ตัวตน เช่น ลูกแย่มาก ลูกช่างไม่ได้เรื่อง โง่ น่าเกลียด ฯลฯ
และไปลดทอนความมีคุณค่าในตั
ควรตำหนิที่พฤติกรรมอย่างตร
4. ไม่ตำหนิต่อหน้าคนอื่นจะยิ่งทำให้เด็กเสียหน้า
ถือคติ "ชมบนหลังคา ด่าที่ใต้ถุน"
5. ถามความคิดเห็นของลูกว่าถ้าเกิดกระทำผิดซ้ำจะให้มีวิธีตักเตือนหรือลงโ
6. พ่อแม่ต้องระมัดระวังการใช้
ไม่จำเป็นต้องเกรี้ยวกราด โมโหใส่ลูก
เพราะจะทำให้กระบวนการทั้งห
เนื่องจากจะเป็นการดุเพื่อร